สาเหตุที่สำคัญของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ คือ
1.เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์เพิ่ม ( Demand-Pull Inflation ) หมายถึง ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากการที่อุปสงค์มวลรวม ( Aggregate Demand ) มีมากกว่าอุปทานมวลรวม ( Aggregate Supply ) ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่ ซึ่งจะทำให้ราคาสินค้าและบริการทั่ว ๆ ไปเพิ่มสูงขึ้น
2.เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนเพิ่ม ( Cost-Push Inflation ) หมายถึง เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าทั่ว ๆ ไปสูงขึ้น เนื่องจากราคาปัจจัยการผลิตสูงขึ้น เช่น ราคาน้ำมันสูงขึ้นอัตราค่าจ้างสูงขึ้น เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้อุปทานมวลรวมลดลงในขณะที่อุปสงค์มวลรวมไม่เปลี่ยนแปลง จึงมีผลทำให้ระดับราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น
ผลของเงินเฟ้อ ในด้านของภาวะเงินเฟ้อนั้นจะมีผลดีหรือก่อให้เกิดผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชากรนั้น ย่อมแล้วแต่ลักษณะและค่าของอัตราเงินเฟ้อว่ามีลักษณะอย่างไรและมีอัตรามากน้อยเพียงใด แต่อย่างไรก็ตามจะมีผลต่อการผลิต การลงทุน การจ้างงานการออม และการกระจายรายได้ของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งอาจแยกพิจารณาได้ดังนี้
1.เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์เพิ่ม ( Demand-Pull Inflation ) หมายถึง ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากการที่อุปสงค์มวลรวม ( Aggregate Demand ) มีมากกว่าอุปทานมวลรวม ( Aggregate Supply ) ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่ ซึ่งจะทำให้ราคาสินค้าและบริการทั่ว ๆ ไปเพิ่มสูงขึ้น
2.เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนเพิ่ม ( Cost-Push Inflation ) หมายถึง เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าทั่ว ๆ ไปสูงขึ้น เนื่องจากราคาปัจจัยการผลิตสูงขึ้น เช่น ราคาน้ำมันสูงขึ้นอัตราค่าจ้างสูงขึ้น เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้อุปทานมวลรวมลดลงในขณะที่อุปสงค์มวลรวมไม่เปลี่ยนแปลง จึงมีผลทำให้ระดับราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น
ผลของเงินเฟ้อ ในด้านของภาวะเงินเฟ้อนั้นจะมีผลดีหรือก่อให้เกิดผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชากรนั้น ย่อมแล้วแต่ลักษณะและค่าของอัตราเงินเฟ้อว่ามีลักษณะอย่างไรและมีอัตรามากน้อยเพียงใด แต่อย่างไรก็ตามจะมีผลต่อการผลิต การลงทุน การจ้างงานการออม และการกระจายรายได้ของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งอาจแยกพิจารณาได้ดังนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น